วันจันทร์ที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2563

การสรุปและเผยแพร่งาน

 หลังจากการพัฒนาโครงงานเสร็จสมบูรณ์แล้ว ผู้พัฒนาควรเขียนรายงานโครงงานและเผยแพร่ผลงาน ซึ่งมีรูปแบบและหัวข้อที่สำคัญดังนี้เพิ่มเติม


วิธีการดำเนินงาน

  อยู่ในขอบเขตการจัดการที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบและควบคุมกระบวนการผลิตและการออกแบบในการดำเนินธุรกิจในการผลิตสินค้าหรือบริการ มีหน้าที่รับผิดชอบในการสร้างความมั่นใจว่าการดำเนินธุรกิจจะมีประสิทธิภาพในแง่ของการใช้ทรัพยากรอย่างน้อยเท่าที่จำเป็นและมีประสิทธิภาพในแง่ของการตอบสนองความต้องการของลูกค้าเพิ่มเติม


การวางแผนและออกแบบโครงงาน

 หลังจากกำหนดวัตถุประสงค์ ขอบเขต และแนวทางในการพัฒนาโครงงานแล้ว ควรวางแผนการพัฒนาโครงงานตามขั้นตอนต่างๆ ให้รอบครอบ รัดกุมเพิ่มเติม


การศึกษาและกำหนดขอบเขต

 ารพัฒนาโครงงาน ควรศึกษาที่มาและความสำคัญของโครงงาน ว่าโครงงานนั้นแก้ปัญหาอะไร ได้ประโยชน์อย่างไร กับใครบ้าง หลังจากนั้นควรระบุวัตถุประสงค์ในการพัฒนาโครงงานให้ชัดเจน ว่าต้องการพัฒนาอะไร และควรที่จะต้องกำหนดแนวทางและขอบเขตของโครงงานว่าจะแก้ปัญหาในส่วนใดบ้าง ใช้ความรู้และทรัพยากรใดบ้าง แล้วจึงประเมินระยะเวลาและงบประมาณเท่าไร โดยมีขั้นตอนต่างๆ ดังนี้เพิ่มเติม



การกำหนดปัญหา


    การกำหนดปัญหา หรือเข้าใจปัญหาเป็นขั้นตอนเริ่มต้นของการพัฒนาระบบ ซึ่งนักวิเคราะห์ระบบจะต้องทำความเข้าใจถึงปัญหาที่เกิดขึ้น และความต้องการของผู้ใช้ เพื่อหาแนวทางของระบบใหม่ที่จะตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ และสามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับธุรกิจได้ดังนั้น ขั้นตอนนี้ จึงเป็นขั้นตอนที่มีความสำคัญมากที่สุด เนื่องจากผลลัพธ์ของการดำเนินงานในขั้นตอนการกำหนดปัญหา ก็คือเพิ่มเติม


การจัดเรียงข้อมูล

 การจัดเรียงข้อมูลเป็นสิ่งที่พบอยู่เสมอ เมื่อต้องการประมวลผลข้อมูลเป็นจำนวนมาก เช่น ครูตรวจข้อสอบของนักเรียน และต้องการบันทึกคะแนนลงสมุดบันทึกคะแนนนักเรียนที่ยมีการเรียงเลขที่เอาไว้ การเรียงลำดับข้อมูลด้วยเงื่อนไขที่เหมาะสมจะทำให้การค้นหาข้อมูลทำได้อย่างมีประสิทธิภาพเพิ่มเติม


การทำซ้ำ

 โปรแกรมแบบวนซํ้า (Loop) นอกจากโปรแกรมแบบทางเลือกที่นักเรียนได้เรียนมาแล้วนั้นซึ่งถือว่าเป็นหัวใจสําคัญของการเขียนโปรแกรมแก้ปัญหาต่างๆ หัวใจของการเขียนโปรแกรมอีกรูปแบบหนึ่งที่มีความสําคัญไม่ยิงหย่อนไปกว่ากันนั้นก็คือโปรแกรม แบบวนซํ้า (Loop) หรือโปรแกรมแบบทําซํ้า การทํางานแบบวนซํ้าก็คือการที่โปรแกรมสามารถทําตามคําสั่งใดๆ ได้มากกว่า 1 ครั้ง สมมติวาเราต้องการแสดงคําว่า  “Hello” จํานวน 3 ครั้ง การเขียนโปรแกรมรูปแบบเดิมที่เราได้เรียนมาแล้วจะได้รหัสคําสั่งดังนี้ เพิ่มเติม


การออกแบบขั้นตอนวิธี

การออกแบบขั้นตอนวิธี(algorithm development) เป็นการออกแบบขั้นตอนในการแก้ปัญหา ซึ่งในปัญหาเดียวกันอาจมีการออกแบบคำสั่งที่ไม่เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับประสบการณ์ของผู้แก้ไข แต่หากได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องแล้ว ก็ถือว่าขั้นตอนวิธีสามารถแก้ไขปัญหาได้ การออกแบบขั้นตอนวิธี มีเครื่องมือในการนำเสนอขั้นตอนวิธี ดังนี้เพิ่มเติม



การระบุข้อมูลเข้า ข้อมูลออก และเงื่อนไขของปัญหา

การแก้ไขปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์นั้น ก่อนที่จะระบุขั้นตอนวิธีที่ชัดเจนได้ จะต้องวิเคราะห์และทำความเข้าใจกับปัญหาเพื่อให้ทราบว่ามีข้อมูลอะไรบ้างที่สามารถใช้ในการประมวลผลได้ มีเงื่อนไขต่าง ๆ อย่างไร ผลลัพธ์ที่ต้องการคืออะไร โดยจะแบ่งข้อมูลที่เกี่ยวกับการทำงานออกเป็นสองส่วน คือ ข้อมูลเข้า (input) เป็นข้อมูลที่ใช้เพื่อประมวลผล และข้อมูลออก (output) เป็นข้อมูลผลลัพธ์ที่ต้องการเพิ่มเติม



การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์กับการแก้ปัญหา 

         การทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ จะทำตามโปรแกรมที่เขียนขึ้นมาทุกประการ ดังนั้นการนำเครื่องคอมพิวเตอร์มาช่วยสำหรับการแก้ปัญหา จึงต้องมีโปรแกรมสำหรับการแก้ปัญหานั้น เพื่อสั่งการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานตามต้องการ ผู้ที่ทำการเขียนโปรแกรมจึงต้องทราบถึงวิธีการของการแก้ปัญหาที่ต้องการแก้ไขทุกขั้นตอน จากนั้นจึงทำการเรียบเรียงลำดับขั้นตอนวิธีการทำงานตั้งแต่ขั้นตอนแรกจนถึงขั้นตอนสุดท้าย แล้วนำขั้นตอนวิธีที่ได้เรียบเรียงขึ้นมาเขียนเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่อไปอ่านเพิ่มเติม